วันอังคารที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2553
วันเสาร์ที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
วันนี้อยากมาอัพบล็อคค่ะ ^^
ไม่รู้จะอัพอะไร เลยเอาบรรยากาศที่มหาลัยมาให้เชยชมจ้า
บันไดขึ้นห้องเรียน ขึ้นแล้วมึนสุดๆค่ะ ^^
รถรางจ้า ขับช้าได้ใจ(เพื่อความปลอดภัย >0<)
AU MALL มีร้านอาหาร-ร้านคาราโอเกะ-ร้านทำผม-ร้านซักแห้ง-ร้านรับทำความสะอาดห้องนอน-ร้านขายหนังสือ+อุปการณ์คอมฯ
หอพัก
บันไดตึก CL
ตึก SR
สวนนอกห้องสมุด
บรรยากาศรอบๆฝั่งชลบุรี
My friends
ทางเข้าตึก CL (ห้องสมุด)
บันไดขึ้นห้องเรียน ขึ้นแล้วมึนสุดๆค่ะ ^^
รถรางจ้า ขับช้าได้ใจ(เพื่อความปลอดภัย >0<)
AU MALL มีร้านอาหาร-ร้านคาราโอเกะ-ร้านทำผม-ร้านซักแห้ง-ร้านรับทำความสะอาดห้องนอน-ร้านขายหนังสือ+อุปการณ์คอมฯ
หอพัก
บันไดตึก CL
ตึก SR
สวนนอกห้องสมุด
บรรยากาศรอบๆฝั่งชลบุรี
My friends
ทางเข้าตึก CL (ห้องสมุด)
วันศุกร์ที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2553
เผย10คณะยอดฮิต520สาขาเด็กไม่เลือก
เผย10คณะยอดฮิต520สาขาเด็กไม่เลือก
ศ.ดร.ประสาท สืบค้า อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เปิดเผยผลการประชุม ทปอ.เมื่อเร็ว ๆ นี้ ว่า ตนได้รายงานข้อมูลการรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาด้วยระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษา หรือ แอดมิชชั่นกลาง ประจำปีการศึกษา 2553 ซึ่งปีนี้มีผู้สมัคร และชำระเงิน 91,590 คน ลดจากปี 2552 เกือบ 2 หมื่นคน โดยคณะ/สาขาวิชา ของมหาวิทยาลัยรัฐ 23 แห่ง มีผู้สมัครมากที่สุด 10 อันดับแรก ดังนี้ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3,409 คน คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ ม.บูรพา 2,740 คน คณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ม.เชียงใหม่ 2,134 คน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบัญชี ม.เกษตรศาสตร์ 2,121 คน คณะบริหารธุรกิจ ม.เชียงใหม่ 1,789 คน คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยวและการโรงแรม ม.ศรีนครินทรวิโรฒ 1,629 คน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชานิเทศศาสตร์ (พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบ) ม.ศิลปากร 1,580 คน สำนักวิชาวิศว กรรมศาสตร์ (คอมพิวเตอร์ เคมี เครื่องกล ไฟฟ้า โยธา ยานยนต์ สิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม) ม.เทคโนโลยีสุรนารี 1,569 คน คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา ม.ขอนแก่น 1,558 คน และ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ ม.เกษตรศาสตร์ 1,555 คน
"สำหรับรหัส/สาขาวิชาที่ไม่มีผู้เลือกเลย มีถึง 520 รหัส/สาขาวิชา ทั้งที่เป็นสาขายอดฮิต เช่น คณะรัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ซึ่งอาจเป็นเพราะคณะดังกล่าวกำหนดให้ต้องสอบการทดสอบความถนัดทางวิชาชีพ/ วิชาการ หรือ PAT ภาษาต่าง ๆ ด้วย เช่น เยอรมัน อาหรับ ภาษาบาลี ภาษาฝรั่งเศส เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ทปอ.ไปดูว่าสาเหตุที่แท้จริงว่าเป็นอย่างไร" ศ.ดร.ประสาท กล่าว
ศ.ดร.ประสาท กล่าวด้วยว่า ที่ประชุมได้ มีมติเห็นชอบลดค่าสมัครสอบทดสอบความถนัดทั่วไป หรือ GAT และ PAT จากวิชาละ 200 บาท เป็นวิชาละ 150 บาท โดยเริ่มได้ตั้งแต่การสมัครสอบครั้งที่ 2/2553 สอบเดือน ก.ค.นี้ รวมทั้งให้สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ดำเนินการสมัครและสอบ GAT และ PAT ตามปฏิทินเดิม คือ สอบเดือน ก.ค. ต.ค. และ มี.ค. นอกจากนี้ ทปอ.ยังยืนยันมติองค์ประกอบและค่าน้ำหนักแอดมิชชั่น ประจำปีการศึกษา 2554 ยังคงใช้เหมือนปี 2553 คือ ใช้คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ม.ปลาย หรือ GPAX 20% คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานหรือ O-NET 30% คะแนน GAT 10-50% และคะแนน PAT 0-40%.
Credit เดลินิวส์
ศ.ดร.ประสาท สืบค้า อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (มทส.) ในฐานะประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เปิดเผยผลการประชุม ทปอ.เมื่อเร็ว ๆ นี้ ว่า ตนได้รายงานข้อมูลการรับสมัครคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาด้วยระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษา หรือ แอดมิชชั่นกลาง ประจำปีการศึกษา 2553 ซึ่งปีนี้มีผู้สมัคร และชำระเงิน 91,590 คน ลดจากปี 2552 เกือบ 2 หมื่นคน โดยคณะ/สาขาวิชา ของมหาวิทยาลัยรัฐ 23 แห่ง มีผู้สมัครมากที่สุด 10 อันดับแรก ดังนี้ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3,409 คน คณะพยาบาลศาสตร์ สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ ม.บูรพา 2,740 คน คณะอุตสาหกรรมเกษตร สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร ม.เชียงใหม่ 2,134 คน คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาบัญชี ม.เกษตรศาสตร์ 2,121 คน คณะบริหารธุรกิจ ม.เชียงใหม่ 1,789 คน คณะสังคมศาสตร์ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยวและการโรงแรม ม.ศรีนครินทรวิโรฒ 1,629 คน คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชานิเทศศาสตร์ (พื้นฐานศิลปศาสตร์ รูปแบบ) ม.ศิลปากร 1,580 คน สำนักวิชาวิศว กรรมศาสตร์ (คอมพิวเตอร์ เคมี เครื่องกล ไฟฟ้า โยธา ยานยนต์ สิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรม) ม.เทคโนโลยีสุรนารี 1,569 คน คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ศึกษา ม.ขอนแก่น 1,558 คน และ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ ม.เกษตรศาสตร์ 1,555 คน
"สำหรับรหัส/สาขาวิชาที่ไม่มีผู้เลือกเลย มีถึง 520 รหัส/สาขาวิชา ทั้งที่เป็นสาขายอดฮิต เช่น คณะรัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ ซึ่งอาจเป็นเพราะคณะดังกล่าวกำหนดให้ต้องสอบการทดสอบความถนัดทางวิชาชีพ/ วิชาการ หรือ PAT ภาษาต่าง ๆ ด้วย เช่น เยอรมัน อาหรับ ภาษาบาลี ภาษาฝรั่งเศส เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ทปอ.ไปดูว่าสาเหตุที่แท้จริงว่าเป็นอย่างไร" ศ.ดร.ประสาท กล่าว
ศ.ดร.ประสาท กล่าวด้วยว่า ที่ประชุมได้ มีมติเห็นชอบลดค่าสมัครสอบทดสอบความถนัดทั่วไป หรือ GAT และ PAT จากวิชาละ 200 บาท เป็นวิชาละ 150 บาท โดยเริ่มได้ตั้งแต่การสมัครสอบครั้งที่ 2/2553 สอบเดือน ก.ค.นี้ รวมทั้งให้สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ดำเนินการสมัครและสอบ GAT และ PAT ตามปฏิทินเดิม คือ สอบเดือน ก.ค. ต.ค. และ มี.ค. นอกจากนี้ ทปอ.ยังยืนยันมติองค์ประกอบและค่าน้ำหนักแอดมิชชั่น ประจำปีการศึกษา 2554 ยังคงใช้เหมือนปี 2553 คือ ใช้คะแนนผลการเรียนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร ม.ปลาย หรือ GPAX 20% คะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานหรือ O-NET 30% คะแนน GAT 10-50% และคะแนน PAT 0-40%.
Credit เดลินิวส์
วันเสาร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ. 2553
My first class @ ABAC
If you’re bored with English or if you scare English, I persuade you that, Assumption University can make you feel fun with English and the bad feeling about your English will be deleted in that time.
My first class at ABAC, in the section 410 (SG426), I opened the door and took a seat in the third line. I don’t have friend in that time, 2-3 minutes, there is a woman opened the door and she took a seat near me. She is May. She is friendly.
Next, the teacher opened the door and she said “Good morning”. Everybody replied after her “Good morning” too. My teacher name is Dr.Laura. She’s good at English. I can translate that she said into Thai.
During my break ( 10:45 – 11.15 AM. ), I went to AU Plaza with May. We bought some water and we drank it.
11:15 AM. , in the class of Dally Teacher. At first, I understood that she said a little bit because she spoke very fast. Then she ordered everybody to introduce themselves. It made everybody to known each other.
My first class at ABAC make good feeling to me. You’ll fun with English, if you at ABAC. ^^
My first class at ABAC, in the section 410 (SG426), I opened the door and took a seat in the third line. I don’t have friend in that time, 2-3 minutes, there is a woman opened the door and she took a seat near me. She is May. She is friendly.
Next, the teacher opened the door and she said “Good morning”. Everybody replied after her “Good morning” too. My teacher name is Dr.Laura. She’s good at English. I can translate that she said into Thai.
During my break ( 10:45 – 11.15 AM. ), I went to AU Plaza with May. We bought some water and we drank it.
11:15 AM. , in the class of Dally Teacher. At first, I understood that she said a little bit because she spoke very fast. Then she ordered everybody to introduce themselves. It made everybody to known each other.
My first class at ABAC make good feeling to me. You’ll fun with English, if you at ABAC. ^^
วันพฤหัสบดีที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2553
คิดถึงจังเลย
คิดถึงโรงเรียนราชินีบูรณะ
คิดถึงอาจารย์
คิดถึงเพื่อนๆ -SKAN 2P-
คิดถึงเพื่อนๆ 6/7
คิดถึงเพื่อนร่วมโรงเรียน
คิดถึงรุ่นน้องที่รู้จัก
คิดถึงน้องหมาดีดี้
คิดถึงอาจารย์
คิดถึงเพื่อนๆ -SKAN 2P-
คิดถึงเพื่อนๆ 6/7
คิดถึงเพื่อนร่วมโรงเรียน
คิดถึงรุ่นน้องที่รู้จัก
คิดถึงน้องหมาดีดี้
วันพฤหัสบดีที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2553
Promote มหาลัยค่ะ ^^
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ (Assumption University) หรือ เอแบค (ABAC) มหาวิทยาลัยเอกชน ในเครือคณะภารดาเซนต์คาเบรียล มี 3 วิทยาเขตตั้งอยู่ที่เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร อำเภอบางเสาธง จังหวัดสมุทรปราการและ city campus ในห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลเวิลด์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญยังเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของประเทศไทยที่มีระบบการสอนหลักสูตรนานาชาติ
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ พัฒนามาจาก "โรงเรียนอัสสัมชัญพานิชยการ" ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2512 และได้รับวิทยฐานะเป็น "โรงเรียนอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ" ในปี พ.ศ. 2515 สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2518 ย้ายสังกัดมาอยู่ทบวงมหาวิทยาลัยโดยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "วิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ ) " หรือ Assumption Business Administration College ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเอแบค (ABAC) และเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 ได้รับการเลื่อนวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัย และได้ชื่อว่า "มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ" โดยมหาวิทยาลัยได้ใช้ตัวอักษรย่อในภาษาไทยว่า มอช. และภาษาอังกฤษว่า "AU" ซึ่งทำให้อักษรชื่อย่อของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมีความสัมพันธ์ กับสัญลักษณ์ทางเคมี คือ Au (ทองคำ)
ชื่อมหาวิทยาลัย : "อัสสัมชัญ" เป็นชื่อที่มีประวัติความเป็นมา และความหมายดังนี้ แรกเริ่มคุณพ่อกอลเบอต์ใช้ชื่อภาษาฝรั่งเศส "Le Collège de L' Assomption" และใช้ชื่อภาษาไทยว่า "โรงเรียนอาซมซานกอเลิศ" (Assumption College) แต่ปรากฏว่าคนทั่วไปมักจะเรียก และเขียนชื่อโรงเรียนผิดเสมอ ดังนั้น เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2453 ภราดาฮีแลร์ (หนึ่งในเจษฎาจารย์ทั้งห้าที่เดินทางมาช่วยรับช่วงดูแลโรงเรียนอัสสัมชัญกรุงเทพฯ ต่อจากคุณพ่อกอลเบอต์) จึงได้มีหนังสือไปถึงกรมศึกษา กระทรวงธรรมการ ขอเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "อาศรมชัญ" ดังนั้นชื่อ "อัสสัมชัญ" จึงเริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2453 เป็นต้นมา ซึ่ง "อัสสัมชัญ" มีความหมายในภาษาไทยดังนี้ "อัสสัม" เป็นคำบาลีมคธว่า "อัสสโม" แปลงเป็นไทยว่า "อาศรม" หมายถึง "กุฏิทีถือศีลกินพรต" ส่วนคำว่า "ชัญ" เมื่อแยกตามรากศัพท์เดิมเป็น "ช" แปลว่า เกิด และ "ญ" แปลว่า ญาณ ความรู้ รวมคำได้ว่า ชัญ คือ ที่สำหรับเกิดญาณความรู้ เมื่อรวมทังสองคือ "อัสสัม"และ"ชัญ" เป็น "อัสสัมชัญ" แปลว่า ตำหนักที่สำหรับหาวิชาความรู้
ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย : ต้นอโศก (Ashoka Tree) คือ ต้นไม้สัญลักษณ์มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า พอลิแอลเธีย ลองจิโฟเลีย (Polyalthea longifolia) มีแหล่งกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา เหตุผลที่มหาวิทยาลัยเลือกต้นอโศกเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยเพราะ
เป็นต้นไม้ที่เขียวอยู่ตลอดเวลา แสดงถึงความสดชื่นร่มเย็น ความคงเส้นคงวาต่อความเปลี่ยนแปลงของดินฟ้าอากาศ หมายความว่า มหาวิทยาลัยจะมีความมุ่งมั่นที่จะบรรลุพันธกิจ ในการให้การศึกษาที่ดีเลิศ โดยไม่ย่อท่อต่ออุปสรรคใด ๆ
เป็นต้นไม้ที่รูปทรงสวยงาม เหมือนสถูปเจดีย์
เป็นมงคลนาม หมายถึง ไม่มีความทุกข์ความโศก และยังเป็นชื่อของกษัตย์อินเดียผู้ยิ่งใหญ่คือ พระเจ้าอโศกมหาราช ที่สร้างอาณาจักรที่เกรียงไกรให้กับอินเดีย และทนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญสูงสุดในยุคนั้น
เป็นต้นไม้ที่นำจากอินเดียสู่ประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยมูลนิธิภราดาคณะเซนต์คาเบรียล โดยนำมาปลูกพร้อมกันครั้งแรกที่ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล และกรมป่าไม้
แม่พระองค์แห่งปรีชาญาณ หรือ Sedes Sapientiæ (The Seat of Wisdom) ถือเป็นสัญลักษณ์สำคัญของมหาวิทยาลัยโดยมีความหมายว่า องค์แม่พระเปรียบเสมือนมหาวิทยาลัย ที่คอยโอบอุ้มนักศึกษา ซึ่งนักศึกษาเปรียบเสมอองค์พระกุมารประทับนั่งอยู่บนตักของแม่พระ
คณะ
คณะบริหารธุรกิจ (ABAC School of Management)
คณะศิลปศาสตร์ (ABAC School of Arts)
คณะนิเทศศาสตร์ (ABAC School of Communication Arts)
คณะนิติศาสตร์ (ABAC School of Law)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ (ABAC School of Engineering)
คณะวิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยี (ABAC School of Science and Technology)
คณะพยาบาลศาสตร์ (ABAC School of Nursing Science)
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ABAC School of Architechture)
คณะดนตรี (ABAC School of Music)
คณะเทคโนโลยีชีวภาพ (ABAC School of Biotechnology)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะศึกษาศาสตร์ (ABAC Graduate School of Education)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ (ABAC Graduate School of Information Technology)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะคณะบริหาร (ABAC Graduate School of Business)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะคณะปรัชญา (ABAC Graduate School of Philosophy and Religion)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะคณะจิตวิทยา (ABAC Graduate School of Counseling Psychology)
วิทยาลัยศึกษาทางไกล ผ่านอินเทอร์เน็ท (ระดับปริญญาโท) (ABAC College of Internet Distance Education )
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ พัฒนามาจาก "โรงเรียนอัสสัมชัญพานิชยการ" ซึ่งก่อตั้งในปี พ.ศ. 2512 และได้รับวิทยฐานะเป็น "โรงเรียนอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ" ในปี พ.ศ. 2515 สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ต่อมาในปี พ.ศ. 2518 ย้ายสังกัดมาอยู่ทบวงมหาวิทยาลัยโดยเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น "วิทยาลัยอัสสัมชัญบริหารธุรกิจ ) " หรือ Assumption Business Administration College ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเอแบค (ABAC) และเมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2533 ได้รับการเลื่อนวิทยฐานะเป็นมหาวิทยาลัย และได้ชื่อว่า "มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ" โดยมหาวิทยาลัยได้ใช้ตัวอักษรย่อในภาษาไทยว่า มอช. และภาษาอังกฤษว่า "AU" ซึ่งทำให้อักษรชื่อย่อของมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญมีความสัมพันธ์ กับสัญลักษณ์ทางเคมี คือ Au (ทองคำ)
ชื่อมหาวิทยาลัย : "อัสสัมชัญ" เป็นชื่อที่มีประวัติความเป็นมา และความหมายดังนี้ แรกเริ่มคุณพ่อกอลเบอต์ใช้ชื่อภาษาฝรั่งเศส "Le Collège de L' Assomption" และใช้ชื่อภาษาไทยว่า "โรงเรียนอาซมซานกอเลิศ" (Assumption College) แต่ปรากฏว่าคนทั่วไปมักจะเรียก และเขียนชื่อโรงเรียนผิดเสมอ ดังนั้น เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2453 ภราดาฮีแลร์ (หนึ่งในเจษฎาจารย์ทั้งห้าที่เดินทางมาช่วยรับช่วงดูแลโรงเรียนอัสสัมชัญกรุงเทพฯ ต่อจากคุณพ่อกอลเบอต์) จึงได้มีหนังสือไปถึงกรมศึกษา กระทรวงธรรมการ ขอเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น "อาศรมชัญ" ดังนั้นชื่อ "อัสสัมชัญ" จึงเริ่มใช้ตั้งแต่วันที่ 28 กันยายน 2453 เป็นต้นมา ซึ่ง "อัสสัมชัญ" มีความหมายในภาษาไทยดังนี้ "อัสสัม" เป็นคำบาลีมคธว่า "อัสสโม" แปลงเป็นไทยว่า "อาศรม" หมายถึง "กุฏิทีถือศีลกินพรต" ส่วนคำว่า "ชัญ" เมื่อแยกตามรากศัพท์เดิมเป็น "ช" แปลว่า เกิด และ "ญ" แปลว่า ญาณ ความรู้ รวมคำได้ว่า ชัญ คือ ที่สำหรับเกิดญาณความรู้ เมื่อรวมทังสองคือ "อัสสัม"และ"ชัญ" เป็น "อัสสัมชัญ" แปลว่า ตำหนักที่สำหรับหาวิชาความรู้
ต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัย : ต้นอโศก (Ashoka Tree) คือ ต้นไม้สัญลักษณ์มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า พอลิแอลเธีย ลองจิโฟเลีย (Polyalthea longifolia) มีแหล่งกำเนิดในอินเดียและศรีลังกา เหตุผลที่มหาวิทยาลัยเลือกต้นอโศกเป็นต้นไม้ประจำมหาวิทยาลัยเพราะ
เป็นต้นไม้ที่เขียวอยู่ตลอดเวลา แสดงถึงความสดชื่นร่มเย็น ความคงเส้นคงวาต่อความเปลี่ยนแปลงของดินฟ้าอากาศ หมายความว่า มหาวิทยาลัยจะมีความมุ่งมั่นที่จะบรรลุพันธกิจ ในการให้การศึกษาที่ดีเลิศ โดยไม่ย่อท่อต่ออุปสรรคใด ๆ
เป็นต้นไม้ที่รูปทรงสวยงาม เหมือนสถูปเจดีย์
เป็นมงคลนาม หมายถึง ไม่มีความทุกข์ความโศก และยังเป็นชื่อของกษัตย์อินเดียผู้ยิ่งใหญ่คือ พระเจ้าอโศกมหาราช ที่สร้างอาณาจักรที่เกรียงไกรให้กับอินเดีย และทนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญสูงสุดในยุคนั้น
เป็นต้นไม้ที่นำจากอินเดียสู่ประเทศไทยเป็นครั้งแรก โดยมูลนิธิภราดาคณะเซนต์คาเบรียล โดยนำมาปลูกพร้อมกันครั้งแรกที่ โรงเรียนเซนต์คาเบรียล และกรมป่าไม้
แม่พระองค์แห่งปรีชาญาณ หรือ Sedes Sapientiæ (The Seat of Wisdom) ถือเป็นสัญลักษณ์สำคัญของมหาวิทยาลัยโดยมีความหมายว่า องค์แม่พระเปรียบเสมือนมหาวิทยาลัย ที่คอยโอบอุ้มนักศึกษา ซึ่งนักศึกษาเปรียบเสมอองค์พระกุมารประทับนั่งอยู่บนตักของแม่พระ
คณะ
คณะบริหารธุรกิจ (ABAC School of Management)
คณะศิลปศาสตร์ (ABAC School of Arts)
คณะนิเทศศาสตร์ (ABAC School of Communication Arts)
คณะนิติศาสตร์ (ABAC School of Law)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ (ABAC School of Engineering)
คณะวิทยาศาสตร์์และเทคโนโลยี (ABAC School of Science and Technology)
คณะพยาบาลศาสตร์ (ABAC School of Nursing Science)
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ (ABAC School of Architechture)
คณะดนตรี (ABAC School of Music)
คณะเทคโนโลยีชีวภาพ (ABAC School of Biotechnology)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะศึกษาศาสตร์ (ABAC Graduate School of Education)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ (ABAC Graduate School of Information Technology)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะคณะบริหาร (ABAC Graduate School of Business)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะคณะปรัชญา (ABAC Graduate School of Philosophy and Religion)
บัณฑิตวิทยาลัยคณะคณะจิตวิทยา (ABAC Graduate School of Counseling Psychology)
วิทยาลัยศึกษาทางไกล ผ่านอินเทอร์เน็ท (ระดับปริญญาโท) (ABAC College of Internet Distance Education )
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)