Assumption University

Quelle heure est-il????

++ My musiC ++

วันพฤหัสบดีที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

-Les phrases exclamatives !-

Les phrases exclamatives !
เราสามารถแสดงอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ [ความพึงพอใจ (satisfaction), ความชื่นชอบ (admiration), ความประหลาดใจ (surprise), ความโกรธ (colère), ความเสียดาย (regret)] โดยการใช้ประโยคอุทาน (phrase exclamative) :
-Quel(s) / Quelle(s) + nom :
Quel temps ! (อากาศอะไรกันนี่ !)
-Quelle + nf.s !
Quelle bonne idée ! (ช่างเป็นความคิดที่ดี !)
-Quels + nm.pl. !
Quels
beaux bijoux ! (เครื่องประดับที่งดงามอะไรเช่นนี้ !)
-Quelles + nf.pl !
Quelles
belles fleurs ! (ดอกไม้สวยงามอะไรเช่นนี้ !)
Que / Ce que / Comme + phrase [ประโยค] ! :
- Qu'il fait chaud ! / Ce qu'il fait chaud ! / Comme il fait chaud ! (อากาศร้อนอะไรอย่างนี้ !)
- Que c'est cher ! / Ce que c'est cher ! / Comme c'est cher ! (แพงอะไรอย่างนี้ !)
[ ** ในภาษาสำหรับคนคุ้นเคยกัน เรามักจะใช้ " Qu'est-ce que ..." : Qu'est-ce qu'il fait chaud ! / Qu'est-ce que c'est cher ! ]
Que de + nom (ไม่มี article)
- Que de monde ! (ผู้คนมากมายจังเลย !)
- Que de bonnes choses ! (มีแต่ของดีๆทั้งนั้นเลย !)
สำนวนต่างๆที่แสดงถึง [De nombreuses expressions invariables qui marquent] :
ความประหลาดใจ [surprise] : Ça alors ! / Pas possible ! / C'est pas vrai ! / Oh ! la ! la ! ... / Mon
Dieu !
- Oh ! la ! la !, Que tu es belle ! (โอ้ ลา ลา ! เธอสวยอะไรอย่างนี้ !)
ความกลัว [peur] , การเตือนให้ระวังภัย...[danger] : Attention ! / Au secours ! ...
- Attention ! Tu vas tomber ! (ระวัง ! เดี๋ยวเธอจะล้ม !)
- Il y a l'incendie dans l'immeuble ! Au secours ! (ไฟไหม้ตึก ช่วยด้วย ๆ !)

วันอาทิตย์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

วันนี้มีวิธีคลายความเครียดมาบอกกันค่ะ

กลยุทธ์ที่ 1 : อย่าคาดหวังว่า "บ้าน" ต้องเหมือนบ้านตัวอย่าง หรือ บ้านในแมกกาซีน ระลึกไว้เสนอว่า บ้านคือสถานที่ที่ทุกคนในครอบครัวใช้ดำรงชีวิตอยู่ประกอบกับกิจกรรมต่างๆ ในครอบ ครัว การคาดหวังว่าบ้านบ้านต้องสมบูรณ์แบบเป็นระเบียบ สะอาดสะอ้านไม่มีที่ติ เป็นเรื่องเป็นไปได้ยาก หากคุณไม่มีตำแหน่งคนดูแลบ้าน คนดูสวน แต่ต้องทำกันเองทั้งหมด ก็อย่าได้ไปเครียด หรือวิตก กังวล เพราะบ้านที่อบอุ่น มีชีวิตชีวา ต้องมีความเคลื่อนไหว และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ

กลยุทธ์ที่ 2 : หาเวลารับประทานอาหารร่วมกัน คงเป็นไปได้ยาก หากบุคคลในครอบครัวจะมานั่งรับประทานอาหารร่วมกันทุกมื้อ เพราะสภาพสิ่งแวดล้อมของการทำงาน เวลาเลิก งาน ความรับผิดชอบ รวมทั้งปัญหาจราจรซึ่งทำให้เวลาไม่ตรงกัน แต่การหาเวลารับประทานอาหารร่วมกัน โดยถือเป็นมื้อของครอบครัว ไม่ใช่เรื่องยากเกินไป เช่น กำหนดให้วันอาทิตย์มื้อเย็นเป็นการรับประทานอาหารในครอบครัวหนึ่งมื้อ

กลยุทธ์ที่ 3 : ให้ความสำคัญกับทุกคนในครอบครัวด้วยการแบ่งปันหน้าที่รับผิดชอบในบ้าน กลยุทธ์นี้หมายถึงนอกจากให้ความสำคัญกับสมาชิกในครอบครัวแล้ว ยังเป็นการแบ่งเบาภาระหน้าที่ของ ผู้เป็นแม่บ้านด้วย ยกตัว อย่าง เช่น ลูกสาวคนโตมีหน้าที่จ่ายตลาด ลูกสาวคนรองเข้าครัวเป็นลูกมือ คุณพ่อต้องตัดหญ้าและล้างรถร่วมกับลูกชายในทุกวันเสาร์ ฯลฯ

กลยุทธ์ที่ 4 : ให้สมาชิกแต่ละคนมีความรับผิดชอบต่อตนเอง กรณีนี้หมายถึง การหัดเด็กๆ ในบ้าน รู้เวลาเข้านอน ตื่นนอน เตรียมอุปกรณ์การเรียน การทำความสะอาดห้อง การเก็บที่นอน ฯลฯ เพราะกิจกรรมดังกล่าวจะเป็นการเสริมสร้างนิสัยที่ดีให้กับสมาชิก ครอบครัวและยังเป็นการแบ่งเบาภาระของครอบครัวร่วมกันด้วย

กลยุทธ์ที่ 5 : ให้สมาชิกแต่ละคนมีความรับผิดชอบต่อตนเอง การปรึกษาหารือ เป็นเรื่องสำคัญที่พ่อและแม่มีบทบาทสำคัญ การใช้เวลานั่งดูโทรทัศน์ หรือ ใช้เวลาตอนรดน้ำต้นไม้สอบถามเรื่อง การเรียนของลูก การทำงานของสามี-ภรรยา คุยถึงเพื่อนๆหรือกิจกรรมพิเศษของลูกในโรงเรียน เป็นสิ่งที่ไม่ควรละเลย เพราะการพูดคุยเช่นนี้จะไม่ทำให้เกิดถาวะการสะสมเรื่องราว อีกทั้งสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ และความใกล้ชิดระหว่างกัน

กลยุทธ์ที่ 6 : ให้ความสำคัญกับวันพิเศษของสมาชิกในครอบครัว วันครบรอบการแต่งงาน วันเกิดลูกๆ วันรับปริญญา หรือวันที่ลูกเข้าแข่งขันกีฬานัดสำคัญ สิ่งเหล่านนี้ล้วนสำคัญและไม่น่ามองข้าม เพราะสมาชิกในครอบครัวต้องการกำลังใจ และความเอาใจใส่จากคนในครอบครัวมากกว่าบุคคลอื่น

กลยุทธ์ที่ 7 : ให้กำลังใจซึ่งกันและกัน หากสามี หรือ ภรรยา เกิดปัญหาจากการทำงาน การพูดคุย ปรึกษาหรือถามไถ่ในเวลาที่สังเกตเห็นสิ่งผิดปกติ ถือเป็นน้ำทิพย์ชโลม จิตใจที่ดี เหมือนสายฝนที่ชุ่มฉ่ำ แม้กระทั่งการให้กำลังใจลูกเมื่อพลาดจากการสอบ หรือพลาดจาการชนะในการแข่งขันกีฬา อย่าได้ซ้ำเติม หรือเพิกเฉย ปล่อบให้คิดแก้ปัญหาเองโดยไม่มีคำปรึกษาที่ดี

กลยุทธ์ที่ 8 : หาอุปกรณ์อำนวยความสะดวกช่วยผ่อนแรงงานในบ้านบ้าง ไม่ได้หมายความว่าคุณจะต้องซื้อทุกอย่างที่อำนวยความสะดวกมาซะทุกชิ้น แต่ต้องพิจารณาว่าชิ้นไหนควร ? ไม่ควร ? หรือเหมาะสมกับ สภาพทางการเงินในครอบครัวหรือไม่ ? เพราะการใช้เครื่องอำนวยความสะดวกใบบ้านบางชิ้น สามารถประหยัดเวลาในการทำงาน ซึ่ง นั้นก็หมายความว่าคุณมีเวลาได้ทำกิจกรรมอื่นภายในบ้าน หรือมีเวลาให้กับคนในครอบครัวมากขึ้น

กลยุทธ์ที่ 9 : หากิจกรรมพักผ่อนในวันหยุดร่วมกัน สิ่งนี้เป็นสำคัญเพราะว่าเป็นจุดทำลายความตึงเครียดของทุกคนในบ้านด้วยการเปลี่ยนบรรยากาศ เปลี่ยนสถานที่พักอาศัยชั่วคราว เปลี่ยนรสชาติของอาหาร ฯลฯ การเปลี่ยนแปลงในสิ่งต่างๆ เหล่านี้ จะทำให้ทุกคนได้ผ่อนคลายจากภาระการทำงานนอกบ้าน ภาระการทำ งานในบ้าน ภาระการเรียนหนังสือ ฯลฯ

กลยุทธ์ที่ 10 : เริ่มต้น - จบลงด้วยบรรยากาศที่ดี กลยุทธ์นี้สัมพันธ์กับการพูด การพูดที่ดีต่อกันของสมาชิกในครอบครัว เป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างบรรยากาศที่ดีในครอบครัว การ พูดจากระแทกแดกดัน หรือใช้อารมณ์ที่ขุ่นมัว ซึ่งติดมากับที่อื่น จะทำให้สมาชิกในบ้านเกิดความตรึงเครียด 10 กลยุทธ์ของการลดความเครียดในบ้านที่เอามาฝาก ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงอาศัยความละเอียดอ่อน ความสังเกต และความรัก เป็น ที่ตั้งอันสำคัญ เตรียมพร้อม เพื่อปกป้องเรื่องราวต่างๆ ที่จะทำให้เกิดความเครียดในครอบครัวแล้วอย่าลืมตระเตรียมร่มคู่ใจ ให้สำหรับสมาชิกใน บ้านด้วยนะค่ะ เพราะย่างเข้าฤดูฝนกันแล้ว สุขภาพจิตดี ต้องสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงเสมอ....

วันเสาร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

Le jasmin (ดอกมะลิ = สัญลักษณ์ของวันแม่)

Le jasmin


Le jasmin est, avec la rose, une des deux fleurs reines de la parfumerie. Son nom vient de l'arabe yâsamîn, lui-même emprunté au persan. La fleur pousse sur un arbuste appartenant à la famille des Oléacées, surtout cultivé en Inde, dont il est originaire, et en Égypte. Parmi plus de 200 espèces, les jasmins les plus utilisés en parfumerie sont Jasminum grandiflorum, Jasminum officinale et Jasminum odoratissimum. Les autres espèces sont pour la plupart cultivées dans les jardins comme arbustes d'ornement.Outre l'Inde, l'un des principaux producteurs de jasmin a toujours été la Chine. Mais l'arbre s'est aussi adapté en Europe méditerranéenne : Jasminum grandiflorum est appelé couramment jasmin d'Espagne, et la ville de Grasse, depuis le milieu du XVIIe siècle, s'est lancée dans la culture du jasmin. La récolte du jasmin de Grasse (aujourd'hui devenu rare) se déroule pendant le mois d'août. Les fleurs doivent être cueillies juste avant l'aube et traitées le plus rapidement possible.Pour obtenir un kg d'essence absolue de jasmin, il faut recueillir environ sept millions de fleurs. Autant dire que le jasmin naturel est cher, réservé aux parfums de luxe, dont la plupart eux-mêmes préfèrent employer une version synthétique. La maison Patou continue malgré tout de l'utiliser. Il faut dire que le jasmin, mêlé à la rose, avait fait le grand succès du parfum Joy (1930), pour lequel Jean Patou disait qu'il fallait 10 600 fleurs de jasmin pour produire une once de parfum.Le jasmin est à l'origine du prénom arabe féminin Yasmina (également Yasmine, Yassmine).

วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

- Le passé récent & Le passé composé -

Le passé récent

การใช้ : Le passé récent ใช้บอกเล่าหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เพิ่งจบลงไป
- Le train vient d' entrer en gare. Les passagers en descendent. (รถไฟเพิ่งเข้าสู่สถานี ผู้โดยสารกำลังลงจากรถไฟ)
- Vous voulez un café ? (คุณต้องการกาแฟสักถ้วยไหม)
+ Non, merci. je viens d' en prendre.
(ไม่หรอกครับ ขอบคุณ ผมเพิ่งจะดื่มมา)
รูปแบบ : Le passé récent สร้างโดยใช้ verbe "venir de" ในรูป présent + infinitif :
Je viens de déjeuner.
Tu viens de rentrer ?
Il / Elle vient de sortir.
Nous venons de commencer.
Vous venez d' écouter France-Inter.
Ils / Elles viennent d' entrer en classe
.

Le passé composé

การใช้ :
1. บอกเล่าหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตและจบลงไปเรียบร้อยแล้ว
- Je suis née le 20 mars 1987. (ดิฉันเกิดวันที่ 20 มีนาคม 2530)
- L' année dernière, j' ai acheté une nouvelle voiture. (เมื่อปีที่แล้วฉันซื้อรถใหม่คันหนึ่ง)
- Est-ce que tu lui as téléphoné ? (เธอโทรศัพท์ถึงเขาแล้วหรือยัง)
2. บอกเล่าหรือบรรยายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีตแต่มีผลมาถึงปัจจุบัน
- Elle n'a plus d'argent; elle a tout dépensé. (หล่อนไม่มีเงินเหลืออีก หล่อนใช้มันไปหมดแล้ว)
- Elle est tombée. Elle a mal aux genoux. (หล่อนหกล้ม หล่อนเจ็บหัวเข่า)
3. ใช้ตามหลัง "si" ในประโยคที่บอก เงื่อนไข หรือ สมมุติฐาน
- Si tu as fini tes devoirs, tu pourras regarder la télévision. (ถ้าเธอทำการบ้านเสร็จแล้ว เธอก็ดูโทรทัศน์ได้)
- Si vous ne vous êtes pas encore inscrit(e), dépêchez-vous de le faire. (หากคุณยังไม่ไดสมัคร ก็ต้องรีบเร็วเข้า)
รูปแบบ : เราใช้กริยาช่วย (auxiliaire) "avoir" หรือ "être" ในรูป présent + participe passé
"avoir" ใช้กับ verbe ส่วนใหญ่ :
J' ai bien mangé. [inf. = manger]
Tu as fini ton travail ? [inf. = finir]
Il a eu un accident. [inf. = avoir]
Elle a été malade. [inf. = être]
Nous avons dîné dans un bon restaurant. [inf. =dîner]
Vous avez appris l' anglais ? [inf. = apprendre]
Ils ont fait beaucoup de photos. [inf. = faire]
Elles ont mis leur plus belle robe. [inf. = mettre]
ในประโยคปฎิเสธ " ne ............. pas " ครอบกริยาช่วย "avoir"
- Je n' ai pas trouvé sa maison.
- Tu n' as pas fini ?
participe passé ของกริยาแท้ไม่ทำ accord (ไม่เปลี่ยนรูป) ให้สัมพันธ์กับเพศและพจน์ของประธานเมื่อใช้กับ verbe "avoir"
"être" :
1. ใช้กับ verbes ต่อไปนี้ :
aller[allé] - venir[venu] - revenir[revenu] - arriver[arrivé] - partir[parti] - passer[passé]
entrer[entré] - rentrer[rentré] - sortir[sorti] - tomber[tombé] - rester[resté] - retourner[retourné]
monter[monté] - descendre[descendu] - naître[né] - mourir[mort]
- Je suis allé(e) au cinéma hier soir.
- Tu es allé(e) au cinéma hier soir ?
- Il est allé au cinéma hier soir.
- Elle est allée au cinéma hier soir.
- Nous sommes allés(es) au cinéma hier soir.
- Vous êtes allé(e)(es)(s) au cinéma hier soir ?
- Ils sont allés au cinéma hier soir.
- Elles sont allées au cinéma hier soir.
participe passé ของกริยาแท้ต้องทำ accord (เปลี่ยนรูป) ให้สัมพันธ์กับเพศและพจน์ของประธาน
(เติม e สำหรับเพศหญิง - เติม s สำหรับพหูพจน์เพศชาย - เติม es สำหรับพหูพจน์เพศหญิง) เมื่อใช้กับ verbe "être"
สำหรับ verbe : monter, descendre, entrer(rentrer), sortir, passer, retourner : เมื่อตามด้วยกรรมตรง
(complément d' objet direct) ต้องใช้ verbe "avoir" ช่วยในการทำเป็น passé composé
- Elle est passée chez moi hier. (หล่อนแวะมาบ้านฉันเมื่อวาน)
- Elle a passé de bonnes vacances au bord de la mer. (หล่อนใช้เวลาช่วงวันหยุดอย่างมีความสุขที่ชายทะเล)
ในประโยคปฎิเสธ " ne ............. pas " ครอบกริยาช่วย "être"
- Je ne suis pas sorti hier.
- Il n' est pas venu en classe hier.
2. Verbe pronominal ทุกตัว ใช้กับ verbe "être" เมื่อเป็น passé composé
Je me suis lavé.
Tu t' es amusé ?
Il s' est réveillé ?
Elle s' est promenée.
Nous nous sommes disputés.
Vous vous êtes fâchés avec vos copains ?
Ils se sont intéressés à la peinture.
Elles se sont rencontrées dans une fête.
ในประโยคปฎิเสธ " ne ............. pas " ครอบทั้ง สรรพนาม และ กริยาช่วย "être"
- Je ne me suis pas amusé à la fête d' hier soir.
- Elle ne s' est pas fâchée contre toi !

participe passé ของกริยารูป pronominal ต้องทำ accord (เปลี่ยนรูป) ให้สัมพันธ์กับเพศและพจน์ของประธาน
(เติม e สำหรับเพศหญิง - เติม s สำหรับพหูพจน์เพศชาย - เติม es สำหรับพหูพจน์เพศหญิง) เมื่อใช้กับ verbe "être"
ยกเว้นเมื่อมีกรรมตรงตามมา หรือโครงสร้างของกริยา pronominal เป็น กรรมรอง
- Sabine s' est lavée. (ทำ accord) [ซาบิ้นอาบนํ้า]
- Sabine s' est lavé les cheveux. (ไม่ทำ accord เพราะมีกรรมตรง "les cheveux" ตามมา) [ซาบิ้นสระผม]
- Sabine et sa copine se sont téléphoné pendant 2 heures ! [ซาบิ้นกับเพื่อนโทรศัพท์ถึงกันเป็นเวลาตั้ง
2 ชั่วโมง]
(ไม่ทำ accord เพราะโครงสร้างของกริยา pronominal เป็น กรรมรอง : Sabine téléphone à sa copine และ
Sa copine téléphone à Sabine)

วันจันทร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

- ใครชอบแนวสยองขวัญต้องอ่านค่ะ 8 วิธีเห็นผี จากผู้ทดลอง 50 คน -

> ทุกวิธีต้องทำระหว่าง 4ทุ่ม ถึง เที่ยงคืน
> และต้องไม่เลยเที่ยงคืนเพราะจะถือว่าเป็นวันใหม่
>
> ทุกวิธีห้ามใส่พระ ยกเว้นวิธีที่8
>
> วันที่ทำแล้วมีโอกาสเห็นมากที่สุดคือวันพุธ และ วันอาทิตย์
>
> คนที่มีโอกาสเห็นได้ง่ายสุดคือคนที่เกิดวันพุธ วันศุกร์ และ วันอาทิตย์
>
>
ทุกวิธีอาจจะให้มีคนอื่นอยู่ด้วยก็ได้ยกเว้นบางวิธีที่จะระบุว่าคุณต้องทำคนเดียว
>
> ทุกวิธีที่ต้องหลับตาหากคุณเปลี่ยนใจไม่อยากเห็น ให้เอาอุปกรณ์ทุกอย่างออก
> แล้วค่อยลืมตา
>
> *วิธีที่1* “มองลอดใต้หว่างขา” (เห็นผี 21 คน)
> 1. นำใบไม้ (จากต้นใดก็ได้) ที่ร่วงลงมาจากต้นไม้ ต้องเป็นของต้นนั้นจริง ๆ
> และร่วมลงมาไม่ห่างจากลำต้นมากนัก หากอยู่ใกล้รากจะยิ่งดี
> 2. ยืนในที่โล่ง และต้องมองเห็นพระจันทร์
> หันหน้าไปทางทิศตะวันออกหันหลังไปทางทิศตะวันตก (เพื่อเวลาก้ม
> จะได้ก้มไปทางทิศตะวันตก
> 3. นำใบไม้ที่เก็บมา เอาไว้ในฝ่ามือ (จะทำมืออย่างไรก็ได้ แต่ห้ามพนมมือ)
> 4. หมุนตัวตามเข็มนาฬิกา (หมุนซ้าย) ช้า ๆ เมื่อมาหยุดที่เดิม
> (ทิศตะวันออกที่หันหน้าไว้ตั้งแต่แรก) ให้ท่องว่า
> “พุทโธทายะ” (เหมือนผีถ้วยแก้วเลย) ทำแบบนี้ 3 รอบ (ท่อง 3 ครั้งด้วย)
> ***เพื่อให้เห็นภาพ*** รอบที่1 ยืนหันไปทางทิศตะวันออก
> หมุนซ้ายไปจนมาหยุดที่จุดเริ่มต้นแล้วท่องว่า
> “พุทโธทายะ” และทำต่อไป รอบที่ 2 และรอบที่3
> 5. หลับตานึกถึงใบไม้ที่อยู่ในมือ กับต้นเจ้าของใบไม้
แล้วให้คิดว่าใบไม้ในมือ
> คือพลังงานอย่างหนึ่งที่จะเรียกวิญญาณมาได้
> และนึกเอาว่าใบไม้นี้ได้ตายไปแล้วจึงได้หลุดมาจากต้นไม้
> เพราะฉะนั้นเราติดต่อกับวิญญาณได้ เหมือนที่ติดต่อกับใบไม้ที่ตายแล้วใบนี้
> 6. ค่อย ๆ ก้มหน้าลง (ระหว่างนี้ห้ามลืมตาเด็ดขาด) เมื่อคุณก้มและพร้อมแล้ว
> “ให้ตั้งสติดี ๆ” แล้วลืมตา
> 7. แล้วผีจะมาให้เห็น
> ***หากเห็นอะไรห้ามวิ่ง ไม่ว่าสิ่งที่เห็นจะอยู่ไกล หรือมาประจันหน้าก็ตาม
> ต้องทำตามนี้ก่อน***
> 1. เงยหน้าขึ้น ทิ้งใบไม้ลงพื้นทันที
> 2. หมุนตัวทวนเข็มนาฬิกา (หมุนย้อนกลับไปทางขวานั่นเอง) 3 รอบ
> โดยไม่ต้องท่องอะไรเลย
> 3. เมื่อกลับถึงบ้านต้องล้างหน้า 3 ครั้ง ก่อนล้างให้ท่อง “พุทโธ”
> แล้วเป่าลมลงน้ำจึงค่อยล้างหน้าทำแบบนี้ 3 ครั้ง
>
>
> *วิธีที่2* “ตัดเล็บตอนกลางคืน” (เห็นผี 12 คน)
> ***ขอย้ำเลยวิธีนี้ ต้องทำระหว่าง 4 ทุ่ม ถึง เที่ยงคืน
> เพราะต้องไม่ให้โพล้เพล้ หรือ เป็นวันใหม่”***
> 1. ตัดเล็บมือเท่านั้น โดยเริ่มจากนิ้วก้อย ,นิ้วโป้ง ,นิ้วนาง ,นิ้วชี้
> และนิ้วกลาง (ตัดจากนอกเข้าในนั่นเอง)
> โดยเริ่มตัดจากมือขวาก่อน และทำแบบเดียวกันกับมือซ้าย
> *เล็บที่ตัดห้ามหักหรือขากเด็ดขาดต้องเป็นโค้งตามรูปเล็บ
มิเช่นนั้นจะไมได้ผล*
> 2. น้ำเศษเล็กที่ตัดห่อใส่ผ้าอะไรก็ได้แต่ต้องเป็นสีดำ (ต้องใช้แล้ว
> ไม่ใช่ผ้าใหม่)
> 3. นำไปวางไว้ทางทิศตะตก (เช่นเคย) ของที่พักอาศัย
> 4. เมื่อคุณเข้านอนได้ไม่นาน จะมีคนมานั่งตัดเล็บอยู่ตรงปลายเท้าที่คุณนอน
> (เสียงดัง “แก๊กๆ” นั่นแหละ) เป็นการตัดเล็บของเค้ามาคืนคุณ
> 5. ถ้าอยากเห็นก็ลืมตาแต่ห้ามโวยวาย เพราะเขาจะไปแล้วคุณอาจจะซวยได้
> (เพราะถือว่าเค้ามาดี โดยที่เขาคิดว่าเราเอาเล็บไปแลก หรือไปเล่นกับเขา
> แล้วเขาก็เลยเอาของเขามาคืน
> 6. เมื่อคุณตื่นในตอนเข้า ให้ไปยังจุดที่คุณเอาเล็บไปวางไว้ คลี่ห่อผ้าออก
> จะพบเล็บของคนอื่นไม่ใช่ของคุณ
> 7. ให้คุณพูดเบา ๆ ว่า “ขอบคุณ” แล้วเอาไปฝังไว้ที่ใดก็ได้
> โดยไม่จำเป็นต้องอยู่ในที่พักอาศัยของคุณ (แต่ห้ามทิ้งหรือเผาโดยเด็ดขาด)
>
>
> *วิธีที่3* “หันหลังให้กระจกแล้วกลืนน้ำลาย” (เห็นผี 16 คน)
>
> วิธีนี้ต้องทำคนเดียวเท่านั้น
>
> วิธีนี้ต้องทำก่อนเที่ยงคืน 6 นาที
>
> นาฬิกาที่คุณใช้เป็นเกณฑ์ในกาวัด ให้ยึดเรือนใดเรือนหนึ่งในบ้านได้เลย
> 1. ยืนหันหลังให้กระจก (ครั้งนี้จะทิศใดก็ได้) ตอนเวลา 5 ทุ่ม 54 นาที
> 2. กลืนน้ำลาย 1 ครั้ง ทุก ๆ 1 นาที
> 3. พอครบ 6 นาที หมายความว่าคุณกลืนน้ำลายไปแล้ว 6 ครั้ง
> และถึงเวลาเที่ยงคืนพอดี
> 4. หลับตาแล้วหันไปทางกระจก (จะหันซ้ายหรือขวาก็ได้แต่ช้า ๆ)
> แล้วกลืนน้ำลายอีกครั้ง (เป็นครั้งที่7) แล้วลืมตา และผีจะมาให้เห็น
> 5. เมื่อคุณต้องการยุติพิธี ให้หลับตากลืนน้ำลายอีกครั้ง เป็นอันจบพิธี
>
>
> *วิธีที่4* “ดีดลูกคิดตอนกลางคืน” (เห็นผี 32 คน)
>
> ลูกคิดที่ใช้ดีด ให้ดีดอันที่มีรางยาวที่สุดเท่านั้น
>
> ต้องอยู่คนเดียว เพราะต้องใช้สมาธิอย่างมาก
> 1. ให้ลูกคิดทุกลูก ในทุกรางอยู่สุดรางที่หันมาหาตัวเรา
> 2. ดีดีลูกคิดขึ้นโดยให้ลูกคิดออกจากตัวทีละลูก(ต้องมีสมาธิมากๆ)
> ไล่ไปตั้งแต่รางแลก ไปจนรางสุดท้าย
> 3. ตั้งสมาธิให้ดีอย่างมาก แล้วจับรางลูกคิดตั้งขึ้น
> ให้ลูกคิดวิ่งกลับมาที่เดิมในตอนแรก
> 4. มองรอดช่องรางลูกคิด(รางใดก็ได้) แล้วผีก็จะมาให้เห็น
> 5. หลังจาการทำเรียบร้อยแล้ว ให้ทิ้งลูกคิดนั้นทันที *ห้าม*
> นำกลับมาใช้อีกเป็นเป็นอันขาด
>
>
> *วิธีที่5* “เอามุ้งคลุมหัวตอนกลางคืน” (เห็นผี 6 คน)
> 1. เอามุ้งมาครอบหัวไว้ (หลับตาตั้งแต่ก่อนคลุมแล้ว)
> 2. ท่อง มะ-อะ-อุ 7 ครั้ง (อย่าลืมว่าต้องหลับตา)
> 3. ลืมตา แล้วผีจะมาให้เห็น
>
>
> *วิธีที่6* “ใส่เสื้อกลับแล้วนอนห้อยหัว” (เห็นผี 31 คน)
>
> ต้องทำคนเดียว
> 1. ใส่เสื้อโดยการเอาข้างหลังมาอยู่ข้างหน้า (ถ้ามีกระดุม
> ก็เอากระดุมไว้ขางหลังนั่นเอง)
> 2. นอนลงบนที่นอนที่สูงกว่าพื้น แล้วห้อยหัวลงมอง (เหมือนแหงนหน้า)
> 3. แล้วผีจะมาให้เห็น
>
>
> *วิธีที่7* “แหงนหน้ามองตรงบันได” (เห็นผี 42 คน)
>
> ต้องทำคนเดียว
> 1. นั่งบนบันไดชั้นบนสุด แล้วลงมาทีละขั้นทั้งที่ยังนั่งอยู่
> (ใช้ก้อนลงบันได้นั่นเอง)
> 2.เมื่อถึงขั้นสุดท้าย ให้ยังคงนั่งอยู่ที่ขั้นสุดแล้ว
> แล้วจึงแหงนหน้ามองกลับขึ้นไปชั้นบนสุด
> 3. แล้วผีจะมาให้เห็น
>
>
> *วิธีที่8* “สวมพระกลับหลัง” (เห็นผี 28 คน)
>
> ต้องทำคนเดียว
> 1. สวมพระโดยคล้องสร้อยพระไว้ด้านหลัง(ให้เหมือนที่อยู่ด้านหน้าเลย)
> 2. ยื่นแขนซ้ายออกไปข้าง ๆ แล้วทำมุมข้อศอกโดยให้กำปั้นทิ่มลงพื้น
> และให้ข้อศอกตั้งฉากกับพื้น
> 3. มองลอดผ่านช่องแขน แล้วจะเห็นผี

วันพฤหัสบดีที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

มารู้จักประเทศฝรั่งเศสกันเถอะ

France

La France, ou la République française pour les usages officiels, est un pays dont la métropole se situe en Europe de l’Ouest, et qui inclut des territoires à divers endroits du Globe. La France est membre de l’Union européenne. La France préside l'Union Européenne depuis le 1er juillet 2008.


De tous les grands États européens, elle est le plus anciennement constitué. Sa capitale est Paris. Le pays, en incluant les territoires situés outre-mer, a une superficie de 675 417 km² et une population d’environ 64,5 millions d’habitants[3]. Le français est la langue officielle de la République et l’on y compte 77 langues régionales[9]. La principale religion en France est le catholicisme.


Son économie est de type capitaliste avec une intervention étatique non négligeable depuis la fin de la Seconde Guerre mondiale. Néanmoins, depuis le milieu des années 1980, des réformes successives ont entraîné un désengagement progressif de l’État de plusieurs entreprises publiques.


Membre du Conseil de l’Europe, c’est l’un des pays fondateurs de l’Union européenne, de la zone euro et de l’espace Schengen. Elle est l’un des cinq membres permanents du Conseil de sécurité des Nations unies et fait partie du Groupe des huit (G8), de l’Organisation de coopération et de développement économiques (OCDE), de la Francophonie et de l’Union latine.


Militairement, la France est membre de l’Organisation du traité de l'Atlantique Nord (OTAN). Elle s’était retirée, en 1966, de l’organisation militaire intégrée, pour y revenir partiellement en 2002. La France fait partie des nations disposant de l'arme nucléaire.
Au cours du «
Grand Siècle », la France a été façonnée par les arts et la philosophie. Berceau des « Lumières », elle a influencé les révolutions américaines, puis la Révolution française a insufflé l’élan et l’exemple démocratique dans le monde entier, développant des valeurs de liberté, d’égalité, de fraternité et, depuis 1905, de laïcité. Du fait des explorations de la Renaissance, des XVIIIe et XIXe siècles, la France a diffusé sa culture et sa langue à de nombreux peuples, au Canada, en Afrique, mais aussi dans quelques régions du Moyen Orient, d’Asie et du Pacifique.


ประเทศฝรั่งเศส


ฝรั่งเศส (France) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สาธารณรัฐฝรั่งเศส (French Republic) (ฝรั่งเศส: République française ออกเสียง [ʁepyˈblik fʁɑ̃ˈsɛz]) เป็นประเทศที่มีศูนย์กลางตั้งอยู่ในภูมิภาคยุโรปตะวันตก ทั้งยังประกอบไปด้วยเกาะและดินแดนอื่นๆ ในต่างทวีป ชาวฝรั่งเศสมักจะเรียกฝรั่งเศสแผ่นดินใหญ่ว่า "หกเหลี่ยม" (L'Hexagone) เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศและอาณาเขตของประเทศฝรั่งเศส
ประเทศฝรั่งเศสมีพรมแดนติดกับ
ประเทศเบลเยียม ลักเซมเบิร์ก เยอรมนี สวิตเซอร์แลนด์ อิตาลี โมนาโก อันดอร์รา และสเปน และเนื่องจากประเทศฝรั่งเศสมีดินแดนโพ้นทะเลไว้ในครอบครอง ทำให้มีอาณาเขตติดกับประเทศบราซิลและซูรินาเม (ติดกับเฟรนช์เกียนา) และหมู่เกาะอินดีสเนเธอร์แลนด์ตะวันตก (ติดกับแซงต์-มาแตง) อีกด้วย นอกจากนั้นประเทศฝรั่งเศสยังเชื่อมกับสหราชอาณาจักรทางอุโมงค์ช่องแคบอังกฤษอีกด้วย
สาธารณรัฐฝรั่งเศสปกครองด้วย
ระบอบประชาธิปไตย แบบสาธารณรัฐเดี่ยวกึ่งประธานาธิบดี โดยมีอุดมการณ์จากคำประกาศสิทธิมนุษยชนและพลเมือง ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 และ 19 ฝรั่งเศสเป็นหนึ่งในประเทศจักรวรรดินิยมที่มีอาณานิคมในครอบครองมากที่สุดแห่งหนึ่งในโลก แผ่อาณาเขตบริเวณทวีปแอฟริกาตะวันตกและเอเชียอาคเนย์ ซึ่งเห็นได้ชัดจากการมีอิทธิพลเหนือวัฒนธรรมและการเมืองการปกครองในอาณานิคมนั้นๆ ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วและมีเศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับที่ 6 ของโลก ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นประเทศที่มีนักท่องเที่ยวมากที่สุดในโลกอีกด้วย โดยมีนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศกว่า 79 ล้านคนต่อปี (รวมทั้งนักท่องเที่ยวทางธุรกิจ แต่ไม่รวมนักท่องเที่ยวที่อยู่ภายในประเทศน้อยกว่า 24 ชั่วโมง) ประเทศฝรั่งเศสเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหภาพยุโรปและเป็นประเทศที่ใหญ่ที่สุดในสมาชิกสหภาพอีกด้วย ฝรั่งเศสเองยังเป็นประเทศผู้ก่อตั้งสหประชาชาติ, ประชาคมผู้ใช้ภาษาฝรั่งเศสโลก, G8 และสหภาพละติน ประเทศฝรั่งเศสยังเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติและเป็นมหาอำนาจนิวเคลียร์อีกด้วย




วันพุธที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

เพลงชาติฝรั่งเศส ใครเป็นคนแต่งกันเอ่ย...มาอ่านกันแล้วจะรู้ค่ะ


Jour par Jour, Rouget de Lisle

1792
25 avril
Le chant de Rouget de Lisle
Dans le salon du baron de Dietrich, maire de la ville de Strasbourg, le jeune officier Joseph Rouget de Lisle présente son chant patriotique. D'abord baptisé "Chant de guerre pour l'Armée du Rhin", il est repris par les fédérés marseillais à leur entrée dans Paris en juillet 1792 et renommé "Marseillaise" par les Parisiens. Il sera décrété chant national en 1795 par la Convention et deviendra hymne national en 1879 lors de la IIIème République.

1792
30 juilletLes
Marseillais entrent à Paris en chantant
Les volontaires Marseillais de l'armée révolutionnaire entrent à Paris en chantant le "Chant de guerre pour l'armée du Rhin". La chanson, vite rebaptisée "Marseillaise", a été composée par l'officier Claude Joseph Rouget de Lisle quelques mois plus tôt. Son succès sera tel, qu'elle sera agréée par le ministère de la guerre et deviendra "chant national" en 1795. Elle sera proclamée hymne national de la République française en 1879.

1795
14 juillet
La Marseillaise chant national
Le décret du 26 messidor an III proposé par le député Debry déclare "La Marseillaise" hymne national français. D'abord appelé "Chant de guerre pour l'armée du Rhin", la chanson a été écrite dans la nuit du 25 au 26 avril 1792 par Rouget de Lisle, officier du génie en poste à Strasbourg. Interdite durant le premier et le second empire, elle sera définitivement proclamée "hymne national" en 1879.

1879
14 février
La Marseillaise, hymne national
La chambre des députés adopte "La Marseillaise" comme hymne national français. Composée pour l'armée du Rhin en 1792 par l'officier Claude Rouget de Lisle, l'air était déjà devenu "chant national" en 1795 (26 messidor an III), mais ce texte n'avait jamais été officialisé.

La Marseillaise (สั้นๆ)
Allons enfants de la Patrie,
Le jour de gloire est arrivé !
Contre nous de la tyrannie,
L'étendard sanglant est levé, (bis)
Entendez-vous dans nos campagnes
Mugir ces féroces soldats ?
Ils viennent jusque dans vos bras.
Égorger vos fils, vos compagnes !
Refrain :
Aux armes, citoyens,
Formez vos bataillons,
Marchons,marchons !
Qu'un sang impur
Abreuve nos sillons !

เพลงชาติฝรั่งเศส ลา มาร์แซยแยส เกิดขึ้นเมื่อฝรั่งเศสประกาศสงครามกับออสเตรียและปรัสเซีย นายกเทศมนตรีเมืองสตราสบูรก์ (Strasbourg) ได้ขอให้โกลด-โชเซฟ รูเช เดอ ลิลล์ (Claude Joseph Rouget de Lisle) ผู้การกองทหารในกอลทัพลุ่มแม่น้ำไรน์แต่งเพลงมาร์ชสงครามให้หน่อย และในตอนดึกของวันที่ 25 เมษายน 1792 เขาก็ได้แต่งเพลงนี้ขึ้นมาโดยให้ชื่อว่า เพลงแห่งสงครามสำหรับกองทัพล่มแม่น้ำไรน์ (Chant de guerre pour l'Armée du Rhin) ต่อมาฟร็งซัว มีเรอร์ (François Mireur) ชาวเมืองมาร์แซยได้นำเพลงนี้มาพิมพ์แจกในชื่อ เพลงแห่งสงครามแด่กองทัพชายแดน (Chant de guerre aux armées des frontiers) ให้ทัพของกล่มอาสาสมัครร้องในขณะเดินทางมุ่งสู่พระราชวังตุยเลอรีในกรุงปารีของกษัตริย์ลุยที่ 16 เมื่อวันที่ 30 กรกฏาคม 1792 ซึ่งความจริงรูเช เดอ ลิลล์ เป็นคนที่อยู่ฝ่ายกษัตริย์ มีเรอร์จึงดัดแปลงเนื้อร้องบางตอน และเปลี่ยนชื่อเพลงเป็น ลา มาร์แซยแยส แต่เรื่องนี้มีผู้ให้ความเห็นว่า คำว่า ลา มาร์แซยแยสนั้น ซึ่งจะแปลว่าหญิงสาวชาวมาร์แซยก็ได้ หรือเป็นคำที่ละไว้ในฐานที่เข้าใจว่าเป็นเพลงที่พวกมาร์แซยร้อง ขณะเดินทัพเข้าสู่กรุงปารีก็ได้ อย่างไรก็ตามเพลง ลา มาร์แซยแยสถูกประกาศให้เป็นเพลงชาติฝรั่งเศสตั้งแต่วันที่ 14 กรกฏาคม 1795 และบางสมัยถูกแบนไปบ้าง โดยเฉพาะสมัยจักรวรรดิ จนถูกนำมาใช้ใหม่ในช่วงการปฎิวัติเดือนกรกฏาคม 1830 ซึ่งตอนนั้นก็มีการเรียบเรียงใหม่โดยเอ็กตอร์ แบร์ลิโอส (Hector Berlioz) และมีการประกาศให้เป็นเพลงชาติฝรั่งเศสอีกครั้งในปี 1879


วันจันทร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

14 juillet, jour de la fête nationale en France, à l'élecole Rachinee Burana,en Thailand.

รูปนี้สวยสุดๆเลยอ่ะ เพราะว่ามีถังขยะอยู่ข้างหลังด้วย 555+


ภาพรวมๆค่ะ










5/7 กะอาจารย์ที่ปรึกษาค่ะ น่ารักทุกคนเลย อาจารย์ก็หล๊อหล่อ



จบแล้วค่ะ I love you ตอนจบสวยงามมากๆ



5/7 ร้องเพลงประสานเสียง I love you ของ Lorie (ร้องเพลงเพราะมากๆ) 55+ ชมกันเอง



6/6 เต้น เพลง Doom Doom พี่เบลล์น่ารัก 555+



- กล่าวเปิดงาน -

วันอาทิตย์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

- Le goûter -



Pour la pâte à crêpes:


10 cl de crème fraîche liquide uht


1 cuil. à soupe d'eau de rose


1 cuil. à café d'huile


20 cl de laitQuelques gouttes de colorant alimentaire rouge


120 g de farine fluide Francine1 pincée de sel1 cuil. à café de sucre en poudre2 œufs


30 g de beurre fondu




Pour la garniture:

50 cl de lait2 œufs


60 g de sucre


60 g de farine fluide Francine


32 framboises


12 macarons à la framboise

Pour la pâte à crêpes:

125 g de farine fluide Francine

2 œufs

30 g de beurre fondu

85 g de sucre

2 cuil. à soupe de sucre vanillé

1 pincée de sel

1 cuil. à soupe d'huile d'arachide

42,5 cl de lait

Pour la garniture:

3 bananes

1 citron vert

1 pincée de noix de muscade

Pour le caramel au beurre salé:

120 g de sucre semoule

300 g de crème liquide (tièdie)

50 g de beurre frais

1 pincée de fleur de sel

- - Ça me donne faim. - -

วันเสาร์ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

14 juillet, jour de la fête nationale en France



Le 14 juillet fête nationale de la France est associée au défilé militaire du 14 juillet qui remonte les Champs Elysées.


C'est aussi une fête populaire avec l'organisation de bals et feux d'artifices.


Mais le 14 juillet est avant tout une fête républicaine symbole de liberté. Le 14 juillet
est la date symbolique du passage de la monarchie à la république. Dans les premiers mois de la révolution française en 1789, une grande agitation règne dans toute la France. Les députés du Tiers Etat (les représentants de la bourgeoisie) s'opposent au Roi de France Louis XVI, ils veulent la création d'une Constitution.


Les députés font, le 20 juin 1789, le serment du Jeu de Paume de "ne jamais se séparer jusqu'à ce que la Constitution fût établie".


Le peuple est mécontent, le peuple à faim, il se soulève avec les députés du Tiers Etat et décide de marcher sur la Bastille, prison d'État qui symbolise l'absolutisme et l'arbitraire de l'Ancien Régime. C'est la prise de la Bastille.


Le 17 juillet, Louis XVI se rend à Paris pour reconnaître la nouvelle Garde Nationale. Il arbore la cocarde bleue et rouge à laquelle il semble que Lafayette, commandant de la Garde, ait ajouté le blanc royal. La révolution est en marche, la monarchie se meurt



cliquer pour voir en grand

Dès lors, la prise de la Bastille symbolise pour tous les Français la liberté, la démocratie et la lutte contre toutes les formesd'oppression. Le 14 juillet fut déclaré "Fête Nationale" le 31 janvier 1879.




Lors de son retour la monarchie supprima cette fête.








C'est en 1880 que le 14 juillet devient date officielle de la fête nationale dans l'époque moderne.